บทความ

สมาชิกการจัดการ60ห้องA

อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค อาจารย์ปาล์ม 001 นางสาว กรรภิรมณ์  ติระพัตน์  เอิง 002 นาย ก้องเกียรติ   ศิลป์ภูศักดิ์  อัด 003 นาย เกียรติศักดิ์  ดำด้วง  เอ็ม 004 นาย จีรุตม์  ศรีราม  บิ๊ก 005 นาย ชนัตถ์  จันทร์วงศ์  นัท 006 007 นางสาว ฐานิญา  ช่วยบำรุง   พะแพง 008 009 010 นาย ตะวัน  แซ่ซำ   การ์ด 011 นาย ธนพงษ์  ไชยนุรักษ์  บูม 012 นาย ธนวัช  บัวแก่น  บอล 013 นางสาว ธิดารัตน์  เรืองเมือง   แพร 014 015 นาย นันทวุฒิ  ช่วยมณี  บ่าว 016 นาย นิติกรณ์  ยอดสุวรรณ์  น๊อต 017 018 นาย ประพัฒน์พงษ์  ทองเอม  นุ๊ก 019 นาย ปิยวิทย์  สังข์เศรษฐ์   วิท 020 021 นางสาว เพรชลดา  เขียวสุวรรณ  ฝน 022 023 นาย ภาคภูมิ  ใจสมุทร  ภูมิ 024 นาย มูฮัยมีน ยะเลซู  มิง 025 นาย ยูโซฟ  ใบตาเย๊ะ  นัน 026 นาย รุซดีย์ ยะลิน  ดี 027 นางสาว ลัดดาวรรณ  แก้วเจริญ  ปาล์ม 028 นาย วรายุทธ  ชูบุญลาภ  แม็ก 029 030 นางสาว วารีซ่า  บาราสัน   วาวา 031 นางสาว ศเร๊าะต้า  หม้ดบก   ต้า 032 นาย ศัตยา  แซ่อิ่ม  แดน 033 034 นาย สถิตย์  พิชัยบัณฑิตย์  แสน 035 036 นาย สิทธิพร  บำเพิง  บูม 037 นางสาว สุท

การขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ

รูปภาพ
สายพานลำเลียงในโรงงานอุตสาหกรรม           ระบบสายพานลำเลียง   ( Belt Conveyor ) คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor ) ที่ใช้สายพาน (Belt) เป็นตัวนำพาวัสดุ  ระบบสายพานลำเลียง ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง  หลังจากวัสดุหรือชิ้นงานผ่านกระบวนการตามขั้นตอนมา เมื่อมาถึงการขนย้ายหรือลำเลียงก็จะใช้ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System) ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรือชิ้นงาน   ดังนั้นระบบสายพานลำเลียงจึงเหมาะสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภทที่ใช้ระบบสายพานลำเลียงในกระบวนการผลิต ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System) มี 4 ประเภท 1. ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก)    ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุขึ้นในแนวลาดเอียง ในไลน์การผลิตที่มีการลำเลียงต่างระดับ ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก สามารถลำเลียงผ่านน้ำหรือลำเลียงชิ้นงานที่เปียกได้ และยังไม่เป็นสนิท ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก จะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดยการลำเลียงจะมีลักษณะแนวลาดเอียง ลำเลียงจากที่ต่ำขึ

หุ่นยนต์อุตสาหกรรม

รูปภาพ
หุ่นยนต์ในโรงงาน หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์ถูกนำมาใช้ในหลายแวดวงอุตสาหกรรมเพื่อวางตำแหน่งชิ้นงานต่างๆ อย่างรวดเร็วและแม่นยำสูง หุ่นยนต์บางแบบ (ไม่จำกัดแต่เพียงการเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉาก) มีส่วนประกอบข้อต่อหลายชิ้นส่วนเพื่อช่วยในการจำลองการเคลื่อนไหวของแขนมนุษย์ ส่วนข้อต่อเหล่านี้ต้องมีความแม่นยำในการเหวี่ยงสูง และมีความทนทานสูงเพื่อให้มั่นใจได้ว่า การหยุดกะทันหันจะไม่ทำให้การทำงานผิดพลาด และผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของ THK มีประสิทธิภาพและมีขนาดเล็กพอที่จะทำตามความต้องการเหล่านั้นได้ หุ่นยนต์เก็บกู้ระเบิด Camellon Mobile Robot           หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด เป็นหุ่นยนต์ที่สร้างมาจากโลหะ alloy มีความแข็งแรง ทนทานและน้ำหนักเบา   สามารถควบคุมได้ทั้งแบบมีสายและไร้สาย สามารถทำงานร่วมกับปืนทำลายวงจรและเครื่องเอ็กซเรย์แบบพกพา MK 3 Robot           หุ่ นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด มีความแข็งแรง ทนทานและน้ำหนักเบา   สามารถควบคุมได้ทั้งแบบมีสายและไร้สาย สามารถทำงานร่วมกับปืนทำลายวงจรและเครื่องเอ็กซเรย์แบบพกพา หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ หลาย ๆ คนคงจะรู้จักหุ่นยนต์ อาซิ

เครื่องจักรNC

รูปภาพ
เครื่องจักร NC        NC  คือ     การควบคุมเครื่องจักรกลด้วยระบบตัวเลขและตัวอักษร  ซึ่งคำจำกัดความนี้ได้จากประเทศสหรัฐอเมริกา  กล่าวคือ  การเคลื่อนที่ต่าง ๆ  ตลอดจนการทำงานอื่น ๆ  ของเครื่องจักรกล  จะถูกควบคุมโดยรหัสคำสั่งที่ประกอบด้วยตัวเลข  ตัวอักษร  และสัญลักษณ์อื่น ๆ  ซึ่งจะถูกแปลงเป็นเคลื่อนสัญญาณ (  Pulse )  ของกระแสไฟฟ้าหรือสัญญาณออกอื่น ๆ  ที่จะไปกระตุ้นมอเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อทำให้เครื่องจักรกลทำงานตามขั้นตอนที่ต้องการ วีดิโอ เครื่องจักร DNC ระบบ Distribution Numerical Control: DNC           บริษัท พอช เอ็นเตอร์ไพร์ส จำกัด มีแผนกงานที่พร้อมด้วยวิศวกรผู้ชำนาญเฉพาะ ด้านการให้บริการพัฒนาระบบ Distribution Numerical Control: DNC การจัดการรับ/ส่งโปรแกรม NC DATA เพื่อสั่งงานผ่านหน่วยประมวลผลกลาง (Server) ไปยังเครื่องจักรกลระบบซีเอ็นซีโดยตรงพร้อมๆ กันหลายๆเครื่อง อาทิ Machining Centre, CNC Lathe, CNC Milling และ CAD/CAM Work Stations ทั้งนี้ไม่ต้องกังวลกับปัญหาการตรวจ/ผ่านการเชื่อมต่อซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์หลายๆ จุด ซึ่งเหมาะสมอย่างยิ่งกับอุตสาหกรรมแม่พิม

เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร

รูปภาพ
ดาวเทียม GPS   ประวัติและพัฒนาการของดาวเทียม GPS ในศตวรรษที่ 20 ในการพัฒนาเครื่องส่งวิทยุทำให้เครื่องช่วยการเดินทางได้พัฒนาไป อีกขั้นเรียกว่า Radio beacons รวมทั้ง Loran และ Omega ในที่สุดเทคโนโลยีของดาวเทียมทำให้เครื่องช่วยการเดินทางและการหาตำแหน่งจะพิจารณาจากเส้นที่สัญญาณเดินทางผ่านด้วยการวัดของ Doppler ที่เคลื่อนที่ไป ซึ่งมีระบบ Transit เป็นระบบเครื่องช่วยการเดินเรือโดยอาศัยดาวเทียม ได้รับการคิดค้นสำเร็จในปี ค.ศ. 1950 และใช้งานอยู่ 33 ปี จึงได้ปลดประจำการไป ระบบ Transit ได้พัฒนามาให้ข้อมูลการหาตำแหน่งที่แน่นอนให้กับเรือดำน้ำ polaris ที่มีจรวดนำวิถี หลักการคือ การคาดการณ์โดยใช้ความถี่ Doppler ที่เปลี่ยนแปลงตำแหน่งไปจากดาวเทียม Sputnik ส่งโดยสหภาพโซเวียตในเดือนตุลาคม 1957 สัญญาณเปลี่ยนของ Doppler สามารถพิจารณาการโคจรของดาวเทียมใช้ข้อมูลที่จดเอาไว้ที่สถานีหนึ่งเมื่อดาวเทียมโคจรผ่านไป ระบบ Transit ประกอบด้วย ดาวเทียม 6 ดวงที่เกือบเป็นวงกลม การโคจรผ่านขั้วโลกที่ความสูง 1,075 กิโลเมตร ระยะเวลาของการหมุน 107 นาที การโคจรของดาวเทียม Transit จะแน่นอนกว่าโดยการติดตามจากสถานีพื้นโลก

วิชาคอมพิวเตอรืในงานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม บทที่ 1: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ บทที่ 2: การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานอุตสาหกรรม บทที่ 3: การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย บทที่ 4: ระบบประมวลผล บทที่ 5: เครื่องจักรกลNC บทที่ 6: หุ่นยนต์อุตสาหกรรม บทที่ 7: ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ บทที่ 8: ระบบจัดเก็บและเรียกคืน บทที่ 9: PLC/PC บทที่ 10: คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว นาย เกียรติศักดิ์  ดำด้วง ชื่อเล่น  เอ็ ม รหัสนักศึกษา  606705003 เบอร์โทร  087-8374600 จบมาจาก  วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง สาขา  เทคยานยนต์ บ้านอยู่  34 ม.14 ต.ชะมวง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง มาศึกษาต่อ ณ  มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา คณะ  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม โปรแกรมวิชา  อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขา  เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม